วันพุธที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2555

สรุปโทรทัศน์ครู

เรื่อง : เรียนรู้นอกห้องเรียน กับโรงเรียนในป่า - Outdoor Learning with Forest School
ที่มา : http://www.thaiteachers.tv/vdo2.php?id=19
        ครูพาเด็กไปเรียนรู้นอกห้องเรียนในป่า โดยแบ่งกลุ่มเด็ก และมีการกำหนดให้เด็กเดินอยู่ภายในเชือกเส้นสีน้ำเงิน เด็กมีการเรียนรู้โดยการสังเกตุ สำรวจ สีใบไม้ และครูยังอนุญาติให้เด็กๆเล่นอะไรก็ได้ เลอะเทอะแค่ไหนก็ได้ ภายในเส้นสีน้ำเงิน การที่มาในครั้งนี้เด็กๆจะได้ความอิสระ และยังส่งผลให้เด็กเกิดความกล้าแสดงออก ไม่เขินอาย กล้าพูด สร้างประสบการณ์การเรียนรู้สิ่งแวดล้อมและยังสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้


เรื่่อง : ปฐมวัยให้เป็นสุข : วิศวกรน้อย พวกเขาทำอย่างไรในเยอรมนี ตอนที่ 1 - Early Years Engineering-How Do They Do It in-German
ที่มา : http://www.thaiteachers.tv/vdo2.php?id=139
        มีการอบรมครูเพื่อให้นำกล่องแห่งการค้นพบไปให้เด็กศึกษา ในเรื่องนี้จะเน้นแนวคิดว่าพวกเขาจะปลูกฝังความรู้พื้นฐานให้แก่อนาคตของชาติ โดยเริ่มจากเด็กเล็กๆเรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านการเล่น โดยการได้ลองผิดลองถูก เขาจะอยากเรียนรู้ อยากเล่นและจะชอบสนใจที่จะอยากเรียนวิศวกรรมและจะอยากเป็นวิศวกรในที่สุด

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 16

วันอังคารที่ 25 กันยายน 2555
       - อาจารย์ให้เขียนเรื่องข้อดีและข้อจำกัดของแท๊ปเล็ตในระดับ
ชั้นอนุบาลและระดับประถมศึกษา
       - อาจารย์ให้ข้อมูลเรื่องการทำBlogger

วันศุกร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15

วันอังคารที่ 18 กันยายน 2555
- จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่โรงเรียนสาธิตจันทรเกษม
       เรื่อง แม่เหล็กมหัศจรรย์



บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14

วันอังคารที่ 11 กันยายน 2555
- อาจารย์พูดเรื่องสอบปลายภาค
- อาจารย์ให้กลับไปทำบล๊อกเกอร์
- สรุปโทรทัศน์ครู
- อาจารย์พูดเรื่องงาน เตรียมสถานที่ไปจัดกิจกรรม
- ทบทวนบทเรียนทั้งหมด
          การสอนวิทยาศาสตร์
1.ผ่านเพลง
2.ผ่านนิทาน
3.ปริศนาคำทาย
         กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1.การเปลี่ยนแปลง
2.การประดิษฐ์ของเล่น
3.การผสมสี

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

วันอังคารที่ 4 กันยายน 2555
- อาจารย์แสดงข้อคิดเห็นบอร์ดที่นักศึกษาส่งทีละกลุ่ม
- อาจารย์ให้ส่งสมุดเล่มเล็กที่ทำวิธีทำดอกไม้
- อาจารย์ตรวจงานที่ให้ทำทดลองกลุ่ม
-อาจารย์ให้จัดกิจกรรมในวันอังคารที่ 18 กันยายน 2555 เรื่อง
         1.เสียง                    - ลูกโป่ง
                                        - การเดินทางของเสียง
                                        - ระดับน้ำมีผลต่อระดับเสียง
         2.การเปลี่ยนแปลง  - ปิ้ง/ย่าง (ขนมปัง)
                                        - นึ่ง/ต้ม   (ขนมต้ม)
                                        - ทอด      (เกี่ยว)
         3.แม่เหล็ก               - ของเล่น
                                        - ขั่วต่างดูด
                                        - ขั่วเหมือนผลัก

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

วันอังคารที่ 28 สิงหาคม 2555
- อาจารย์ให้จัดบอร์ดที่เข้าอบรมในวันเสาร์และอาทิตย์ จำนวน 3 คน
 1. น.ส. ละมัย             ใจดี
 2. น.ส. เพชรลัดดา    บุตรมิตร
 3. น.ส. สุภาวดี           ทุมแก้ว


- ความรู้ที่ได้จาการเข้าอบรม ในวันเสาร์และอาทิตย์ที่ 25-26 สิงหาคม 2555
 ได้ทำดอกไม้ต่างๆ เช่น ดอกกุหลาบเวียงพิง ดอกพุทธรักษา ใบไม้แบบต่างๆ  องุ่น แอ๊ปเปิ้ล ดอกกุหลาบจากกระดาษทิชชู่

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

วันอังคารที่ 21 สิงหาคม 2555
   วันนี้ไม่ได้มาเรียนเนื่องจากป่วย
จึงได้คัดลอกมาจาก น.ส. นิศาชล กุลอัก
ความรู้ที่ได้รับ

           -  มีการสรุปหน่วยการเรียนรู้จากหนังสือที่อาจารย์นำมาเป็น Mind Map 



งานที่มอบหมาย

           -  อาจารย์ให้จับกลุ่ม 4  คน  ทำการทดลองวิทยาศาสตร์มา 1  เรื่อง 

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

วันอังคารที่ 14 สิงหาคม 2555
   ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ไปราชกาล อาจารย์จะสอนชดเชยให้วันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9

วันอังคารที่ 7 สิงหาคม 2555
   ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ไปราชกาลและจะชดเชยให้ วันเสาร์ที่25สิงหาคม 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8

วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม 2555
   วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากมีการสอบกลางภาคเรียน

บันทึกการเรียนรุ้ครั้งที่ 7

วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม 2555
 อาจารย์สอน
- 18 สิงหาคม งานวิทยาศาสตร์
- การไปทัศนศึกษา
1.สถานที่   - ไบเทค บางนามีการจัดนิทรรศการ
                  - ท้องฟ้าจำลอง
                  - พิพิธภัณฑ์
                         - พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
                         - พิพิธภัณฑ์พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้ง
                         - พิพิธภัณฑ์เด็ก
                         - พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ
                         - พิพิธภัณฑ์โอเชียล
                         - พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำบางแสน
                         - พิพิธภัณฑ์หว้ากอ
2.ประโยชน์       - ประสบการณ์ตรง
                         - เกิดความสนุกสนาน
                         - เพลิดเพลิน
                         - ตื้นเต้น
                         - มีอิสระ
                         -ได้ความรู้
                         - เกิดความสงสัย
                         - เกิดคำถาม อยากรู้ การใฝ่รู้
- ออกแบบหน่วยการเรียนรู้
          เรื่อง ช้าง
       พูดคุย วาดรุป ศิลปะสร้างสรรค์
                 - เด็กรู้อะไรเกี่ยวกับช้าง
                 - เด็กอยากรู้เรื่องอะไรที่เกี่ยวกับช้าง
              งานที่ได้รับมอบหมาย
                 - เขียนแผนการสอนตามแต่ละหน่วย
                 -แบ่งกลุ่มทำฐานวิทยาศาสตร์ เรื่อง - น้ำ
                                                                         - อากาศ
                                                                         - แสง
                                                                         - ประกอบอาหาร


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6

วันอังคารที่ 17 กรกฎาคม 2555
- อาจารย์ให้เพื่อนนำเสนองานที่แก้ไข
- นำเสนองานที่ยังไม่ได้นำเสนอ
-อาจารย์สอนเรื่อง
        - การเล่นเท่ากับการเรียนรู้
        - การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคือกาารเรียนรู้
        - การเล่นจะต้องมีอิสระในการเล่น
        - สามารถปฏิบัติได้
        - มีขั้นตอน มีลำดับ
        - มีสัมผัส
- วิทยาศาสตร์มีอะไรบ้าง
 -ทดลอง
 - สังเกต
 - ปฏิบัติ
 - จำแนก
          งานที่ได้รับมอบหมาย
ให้แบ่งกลุ่มทำงาน จะสอนเรื่องอะไรในชั้น อ.1-3
ได้ทำเรื่อง (น้ำ)

วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5

วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม 2555
 -อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงาน ของเล่นวิทยาศาสตร์
      

บันทีกการเรียนรู้ครั้งที่ 4

วันอังคารที่ 3 กรกฎาคม 2555
 - อาจารย์พูดเรื่องดูหนังต้องให้ได้ข้อคิด
 - ดูวีดีโอวิทยาศาสตร์ เรื่ิอง มหัศจรรย์ของน้ำ
    ถ้าร่างกายขาดน้ำจะอ่อนเพลีย
 - คุณสมบัติของน้ำ คือ ของแข็ง ของเหลว ก็าซ
 - น้ำจะระเหยเฉพาะส่วนบน
 - การนำไปใช้กับเด็ก ต้องให้เห็นเป็นรูปธรรม
          งานที่ได้รับมอบหมาย 1. ทำสื่อที่เด็กเล่นด้วยตนเองได้ในมุมวิทยาศาสตร์
                                              2. หาวิธีการทำของเล่น วิทยาศสตร์ง่ายๆให้ได้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
          ส่งใบร่าง วันพฤหัสบดี

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

วันอังคารที่ 26 มิถุนายน 2555
   พูดถึงขั้นพัฒนาการตั้งแต่แรกเกิด-2ปี  ( ขั้นประสาทสัมผัส)
             ขั้นพัฒนาการ    2 -6 ปี แบ่งเป็น  2-4 ปี (เพื่อการอยู่รอด ภาษา)  ,4-6 ปี (ปรับเป็นความรู้ใหม่)

      "การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย"
 1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
                    - กระบวนการเบื้องต้น  - สังเกต 
                                                        - การวัด
                                                        - การจำแนกประเภท
                                                        - หาความสัมพันธ์มิติกับเวลา
                                                        - การสื่อความหมาย
                                                        - การคำนวณ
                                                        - พยากรณ์
                   - การผสม                      - ตั้งสมมติฐาน
                                                        -  กำหนดเชิงปฏิบัติการ
                                                        - การกำหนดและควบคุมตัวแปร
                                                        - ทดลอง
                                                        - ตีความและสรุป
2.พัฒนาการสติปัญญา                    - 3 ปี
                                                       - 4 ปี
                                                       - 5 ปี
3.การใช้สื่อ   
                  - เลือกสื่อ                     - สถานการณ์
                                                      - พัฒนาการ
                                                      - เนื้อหา
                 - เตรียมสื่อ
                 - ใช้สื่อ
                 - ประเมินสื่อ                       
4.วิธีการจัด
                - เป็นทางการ                - รูปแบบการสอน(โครงการ)
                                                    - มีจุดมุ่งหมาย
                - ไม่เป็นทางการ           - มุมวิทยาศาสตร์ 
                - ตามเหตุการณ์           - ธรรมชาติ
                                                    - สิ่งที่พบเห็น

วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2


วันอังคารที่ 19 มิถุนายน 2555
     บอกเกี่ยวกับชื่อรายวิชา "การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย"
- การจัดประสบการณ์     
          หลักการจัดประสบการณ์
          เทคนิควิธี
          วิธีการประเมินผล
          ทฤษฎี
          กระบวนการจัดประสบการณ์
          แผนการจัดประสบการณ์ สื่อ/จัดสภาพแวดล้อมสนับสนุน
- วิทยาศาสตร์
          ทักษะทางวิทยาศาสตร์
          สาระทางวิทยาศาสตร์
          วิทยาศาสตร์คือทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวเรา
- เด็กปฐมวัย
          วิธีการเรียนรู้
          พัฒนาการ
          สติปัญญา- การคิด-คิดเชิงเหตุผล
                                        -คิดสร้างสรรค์
                            -ภาษา
     พัฒนาการทางสติปัญญาที่เป็นวิทยาศาสตร์ของเด็ก 3 ปี
           - รู้จักใช้คำถาม "อะไร"
           - ขีดเขี่ยเส้นอย่างอิสระได้
           - จับคู่สีต่างๆได้ประมาณ3-4สี
           - ยังคิดสิ่งที่เป็นนามธรรมไม่ได้
           - อยากรู้อยากเห็นทุกอย่างรอบตัว
งานที่มอบหมาย
     1.ไปดูพัฒนาการทางสติปัญญาที่เป็นวิทยาศาสตร์
     2.Mine mapping งานกลุ่ม 3-4คน


วันจันทร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนครั้งที่ 1

วันอังคารที่ 12 มิถุนายน 2555
- ทำบล็อควิทยาศาสตร์
- ลิ้งค์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ของ สสวท.
- ลิ้งค์รายชื่อเพื่อนในบล็อค
- ดูโทรทัศน์ครูเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (เรื่องนึงซ้ำได้ไม่เกิน 3 คน)